วันอาทิตย์ที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2556

เรื่องราว ข่าวไอที

เกาหลีใต้เปิดตัวอินเทอร์เน็ตไร้สายเร็วที่สุดในโลก

เกาหลีใต้เปิดตัวอินเทอร์เน็ตไร้สายเร็วที่สุดในโลก เร็วกว่า 3G ถึง 10 เท่า และเร็วกว่า 4G ถึง 2 เท่า ใช้ได้ภายในกรุงโซล ก่อนเตรียมขยายให้ครอบคลุมทั่วประเทศ


            เมื่อวันที่ 26 มิถุนายน 2556 เว็บไซต์เดลี่เมลของอังกฤษ รายงานว่า บริษัทเอสเค เทเลคอม ของเกาหลีใต้ ได้เปิดตัวเครือข่ายอินเทอร์เน็ตไร้สายที่เร็วที่สุดในโลก ที่มีชื่อว่า "แอลทีอี แอดวานซ์"ซึ่งมีความเร็วมากกว่าระบบ 3G ถึง 10 เท่า และเร็วกว่าระบบ 4G ถึง 2 เท่า

           รายงานระบุว่า ผู้ที่ใช้งานแอลทีอี แอดวานซ์ จะสามารถดาวน์โหลดข้อมูลได้เร็วกว่าโครงข่ายแอลทีอีแบบเดิมถึง 2 เท่า อีกทั้งยังมีความเร็วมากกว่าระบบ 3G ถึง 10 เท่า ทำให้สามารถถ่ายโอนข้อมูลกว่า 150 เมกะบิตต่อวินาที และยังดาวน์โหลดภาพยนตร์ขนาด 800 เมกะไบต์ได้ในเวลาแค่เพียง 43 วินาทีเท่านั้น ทั้งนี้แม้ว่าการดาวน์โหลดข้อมูลต่าง ๆ ของ แอลทีอี แอดวานซ์ จะมีความเร็วมากที่สุดในโลก แต่ในขณะเดียวกันการอัพโหลดข้อมูลก็ยังคงมีความเร็วเทียบเท่ากับแอลทีอีแบบเก่า ซึ่งมีความเร็วอยู่ที่ 37.5 เมกะบิตต่อวินาที

            สำหรับเทคโนโลยีนี้ใช้ได้ภายในกรุงโซล รวมถึงเมืองที่อยู่โดยรอบเท่านั้น ก่อนที่จะมีการขยายพื้นที่ให้บริการต่อไปในอนาคต โดยในขณะนี้มีผู้ลงทะเบียนใช้งานเทคโนโลยีแอลทีอีในเกาหลีใต้มากถึงร้อยละ 60 จากจำนวนผู้ใช้สมาร์ทโฟนทั้งหมด 33 ล้านเครื่อง ซึ่งรัฐบาลเกาหลีใต้คาดว่า เทคโนโลยีนี้จะเติบโตอย่างรวดเร็วในอนาคต พอ ๆ กับการขยายตัวของระบบ 4G และภายในสิ้นปีนี้ประชาชนจาก 87 ประเทศทั่วโลกจะสามารถเข้าถึงเทคโนโลยีแอลทีอีได้เช่นกัน



อ้างอิง  ข่าวจากกระปุกดอทคอม

ข่าวใหม่ล่าสุด บนโลกออนไลน์


กูเกิลเดี้ยงแค่ 2 นาที ส่งผลให้ทราฟฟิกทั่วโลกหายไป 40%

  เมื่อวันศุกร์ที่ผ่านมา (16 ส.ค.) เวลาประมาณ 16:37 Pacific Time (สหรัฐอเมริกาซีกตะวันตก) บริการทั้งหมดของกูเกิลใช้การไม่ได้เป็นระยะเวลาสั้นๆ ประมาณ 2 นาที
การที่เซิร์ฟเวอร์ล่มชั่วคราวแบบนี้คงไม่ใช่เรื่องแปลกอะไร แต่เมื่อมันคือ “บริการทั้งหมดของกูเกิล” ก็ย่อมส่งผลสะเทือนต่ออินเทอร์เน็ตอย่างมาก โดยข้อมูลจากบริษัท GoSquared ที่วิเคราะห์ทราฟฟิกของทั้งอินเทอร์เน็ตบ่งชี้ว่า ช่วงเวลาสั้นๆ ที่กูเกิลล่มไปนี้ทำให้ทราฟฟิกของอินเทอร์เน็ตหายไปถึง 40% เลยทีเดียว


ขอขอบคุณข้อมูลจาก
IT DAY

วันอาทิตย์ที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

Moore's Law

กฎของมัวร์ หรือ Moore’s Law  

    คือ   กฏที่อธิบายแนวโน้มของการพัฒนาฮาร์ดแวร์ของคอมพิวเตอร์ในระยะยาว มีความว่า จํานวนทรานซิสเตอร์ที่สามารถบรรจุลงในชิพจะเพิ่มขึ้นเป็นสองเท่า ในทุกๆสองปี
 Gordon E. Moore ผู้ก่อตั้ Intel  ซึ้งได้อธิบายแนวโน้มไว้ในรายงานของเขาในปี 1965 จึงพบว่ากฎนี้แม่นยํา อาจเกิดขึ้นเนื่องจาก อุตสาหกรรม    semiconductor  นํากฎนี้ไปเป็นเป้าหมายในการวางแผน พัฒนาอุตสาหกรรมได้     moore's law เป็น ปริมาณของทรานซิสเตอร์บนวงจรรวมจำนวนของทรานซิสเตอร์ ต่อตารางนิ้วบน แผงวงจรรวม มีสองเท่าทุกปีตั้งแต่วงจรรวมถูกคิดค้น Moore predicted that this trend would continue for the foreseeable future. มัวร์ที่คาดการณ์ว่าแนวโน้มจะดำเนินต่อไปในอนาคตอันใกล้ ในปีถัดไป, การก้าวชะลอตัวลงเล็กน้อย แต่ความหนาแน่นของข้อมูลได้เท่าประมาณทุก 18 เดือน

        กอร์ดอน มัวร์ เป็นผู้ร่วมก่อตั้งบริษัทอินเทล ได้ใช้หลักการสังเกตตั้งกฎของมัวร์ (Moore’s law) ขึ้น ซึ่งเขาบันทึกไว้ว่า ปริมาณของทรานซิสเตอร์บนวงจรรวม
       


                กฎของมัวร์ (Moore's Law)
         ในปี พ.ศ. 2490 วิลเลียมชอคเลย์และกลุ่มเพื่อนนักวิจัยที่สถาบัน เบลแล็ป ได้คิดค้นสิ่งที่สำคัญและเป็นประโยชน์ต่อชาวโลกมาก เป็นการเริ่มต้นก้าวเข้าสู่ยุคอิเล็กทรอนิคส์ที่เรียกว่า โซลิดสเตทเขาได้ตั้งชื่อสิ่งที่ประดิษฐ์ขึ้นมาว่า "ทรานซิสเตอร์" แนวคิดในขณะนั้นต้องการควบคุมการไหลของกระแสไฟฟ้า ซึ่งสามารถทำได้ดีด้วยหลอดสูญญากาศแต่หลอดมี ขนาดใหญ่เทอะทะใช้กำลังงานไฟฟ้ามากทรานซิสเตอร์จึงเป็นอุปกรณ์ที่นำมาแทนหลอดสูญญากาศได้เป็นอย่างดีทำให้เกิดอุตสาหกรรมสาร กึ่งตัวนำตามมา และก้าวหน้าขึ้นเป็นลำดับ


พ.ศ. 2508 อุตสาหกรรมผลิตอุปกรณ์สารกึ่งตัวได้แพร่หลาย มีบริษัทผู้ผลิตทรานซิสเตอร์จำนวนมากการประยุกต์ใช้งานวงจรอิเล็กทรอนิกส์  กว้างขวางขึ้น มีการนำมาใช้ในเครื่องจักร อุปกรณ์ต่าง ๆ ตั้งแต่ของใช้ในบ้าน จึงถึงในโรงงานอุตสาหกรรม
การสร้างทรานซิสเตอร์มีพัฒนาการมาอย่างต่อเนื่อง บริษัท แฟร์ซายด์ เซมิคอนดัคเตอร์เป็นบริษัทแรกที่เริ่มใช้เทคโนโลยีการผลิต ทรานซิสเตอร์แบบ    planar หรือเจือสารเข้าทางแนวราบ เทคโนโลยีแบบของการสร้างไอซีในเวลาต่อมา จากหลักฐาน พบว่า บริษัทแฟร์ซายด์ได้ผลิตพลาน่าทรานซิสเตอร์ตั้งแต่ประมาณปี พ.ศ. 2502 และบริษัทเท็กซัสอินสตรูเมนต์ได้ผลิตไอซีได้ในเวลาต่อมา และกอร์ดอนมัวร์กล่าวไว้ว่า จุดเริ่มต้นของกฎของมัวร์เริ่มต้นจากการเริ่มมีพลาน่าทรานซิสเตอร์


        คําว่า กฎของมัวร์นั้นถูกเรียกโดยศาสตราจารย์   Caltech   นามว่า      Carver Mead
ซึ่งกล่าวว่าจํานวนทรานซิสเตอร์จะเพิ่มขึ้นเป็นสองเท่าในทุกๆหนึ่งปี ในช่วงปี 1965  ต่อมามัวร์จึงได้
เปลี่ยนรูปกฎ เพิ่ขึ้นสองเท่าในทุกๆสองปี ในปี 1975






กฎของมัวร์ (Mooer' low)  คือ กฎที่อธิบายแนวโน้มของการพัฒนาฮาร์ดแวร์ของคอมพิวเตอร์ในระยะยาวมีความว่า จำนวนทรานซิสเตอร์ที่สามารถบรรจุลงในชิพจะเพิ่มขึ้นเป็นสองเท่าในทุก ๆ สองปี
   
     กอร์ดอน มัวร์ เป็นผู้ร่วมก่อตั้งบริษัทอินเทล ได้ใช้หลักการสังเกตตั้งกฎของมัวร์ (Moore’s law) ขึ้น ซึ่งเขาบันทึกไว้ว่า ปริมาณของทรานซิสเตอร์บนวงจรรวม
      
 ขอบคุณข้อมูลจาก

 http://www.krudung.com/pb/index.php



วันจันทร์ที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

บิตตรวจสอบ (Parity Bit)

parity bit
บิตภาวะคู่หรือคี่หมายถึง บิตที่เพิ่มขึ้นมา
เพื่อตรวจสอบความผิดพลาดในการส่งข้อมูล ถ้าเป็น 
1 ก็เรียกว่า ภาวะคี่
ถ้าเป็น 0 ก็เป็น ภาวะคู่
การเกิดข้อบกพร่องภายในหน่วยความจำ ดังนั้น บิตตรวจสอบ หรือพาริตี้บิตที่เพิ่มเติมเข้ามาต่อท้ายอีก 1 บิต 
ใช้สำหรับตรวจสอบความแม่นยำและถูกต้องของข้อมูลที่จะถูกจัดเก็บในคอมพิวเตอร์
วิธีการตรวจสอบมีอยู่ 2 วิธีด้วยกัน
1. การตรวจสอบบิตภาวะคู่ (Even Parity)
2. การตรวจสอบบิตภาวะคี่ (Odd Parity)

วันอาทิตย์ที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

ชื่อ - สกุล รหัส ASCII ภาษาอังกฤษ

PAWEENA JUMPASOM
ฐานสอง
0101 0000 P
0100 0001 A
0101 0111 W
0100 0101 E
0100 0101 E
0100 1110 N
0100 0001 A
0100 0000 space
0100 1010 J
0101 0101 U
0100 1101 M
0101 0000 P
0100 0001 A
0101 0011 S
0100 1111 O
0100 1101 M
0000 0011 ETX
ทั้งหมด  17  byte

ชื่อ - สกุล ด้วยรหัส ASCII

ปวีณา จัมปาโสม
1011 1011 BB ป
1100 0111 C7 ว
1101 0101 D5  ี
1011 0011 B3 ณ
1101 0010 D2 า
0100 0000 space
1010 1000 A8 จ
1101 0001 D1  ั
1100 0001 C1 ม
1011 1011 BB ป
1101 0010 D2 า
1110 0010 E2 โ
1100 1010 CA ส
1100 0001 C1 ม
0000 0011 ETX 

ทั้งหมด 15 byte